ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2561 สำนักศาสนศึกษาวัดพระธรรมกาย
ขอแสดงมุทิตาสักการะพระภิกษุ - สามเณร ผู้สอบผ่าน บาลีสนามหลวง เปรียญธรรมประโยค ๙, ๘, ๗, ๖, ๕, ๔, ๓, ๒, ๑ และ บาลีศึกษา ๘ สำนักศาสนาศึกษาวัดพระธรรมกาย สำนักเรียนคณะจังหวัดปทุมธานี ประจำปี ๒๕๖๑
ประโยชน์ของการแต่งกายชุดขาวเข้าวัด
วัดเป็นบุญสถานอันศักดิ์สิทธิ์ การแต่งกายชุดขาว เป็นการให้เกียรติหรือให้ความเคารพต่อสถานที่ แต่งชุดสีขาวๆ ทำให้ทั้งตัวเราและผู้ที่ได้พบเห็นมีใจใส..ใจสงบ..ใจสบาย ซึ่งเป็นพื้นฐานที่จะทำให้เราสามารถเข้าถึงธรรมภายในได้อย่างง่ายๆ ทำให้ใจของเรานั้นสามารถที่จะเกาะเกี่ยวอยู่กับเรื่องของบุญได้อย่างเต็มที่
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๓)
ในฉบับที่แล้ว ผู้เขียนเล่าย้อนไปถึงพันธกิจที่สำคัญเกี่ยวกับการเดินทางไปเยี่ยมเยียนให้กำลังใจทีมงานนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI)....
ทำถูกหลักวิชชา นำพาสู่สวรรค์
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัปปุริสทานมี ๘ ประการ คือ ให้ของสะอาด ให้ของประณีต ให้ตามกาล ให้ของสมควร เลือกให้ ให้เนืองนิตย์ ให้ด้วยจิตที่ผ่องใส และให้แล้วก็ดีใจ”
ทุกข์โทษภัยของวจีกรรม
การพูดหรือการสื่อสารที่ขาดสติพิจารณา พูดเอาสนุกปาก พูดหยาบคาย หรือพูดโดยปราศจากข้อมูลที่แท้จริง ไม่เพียงแต่....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๑)
ดังที่ทราบกันโดยทั่วไปอยู่แล้วว่า พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ ตั้งใจศึกษาความรู้ในพระพุทธศาสนา..
นกน้อยผู้มีจิตเลื่อมใส
“เอวํ อจินฺติยา พุทฺธา พุทฺธธมฺมา อจินฺติยา อจินฺติเยสุ ปสนฺนานํ วิปาโก โหตฺยจินฺติโย พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าและพระคุณของพระองค์ก็เป็นอจินไตยเช่นกัน” (ขุททกนิกาย อปทาน)
อานิสงส์การบูชาเจดีย์ด้วยดอกไม้ ๘ ดอก
“ข้าพเจ้ามีใจเลื่อมใส ยกดอกไม้ ๘ ดอก ขึ้นบูชาพระสถูปของพระกัสสปพุทธเจ้าด้วยมือของตนเอง ด้วยอานุภาพแห่งผลบุญในครั้งนั้น ทำให้เป็นผู้ที่มีวรรณะงดงามเช่นนี้”
ขอเชิญชาวพุทธร่วมสวดมนต์ บทเทศนากัณฑ์แรก "ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร"
ขอเชิญทุกท่านสวดมนต์บทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ทุกวันไปจนถึงวันอาสาฬหบูชานี้ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...